วันอังคารที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2554

วิธีการเผ้าระวังอาการโรคข้อเข่าเสื่อม


ข้อเข่าเสื่อม อาการเสื่อมตามสภาพ หรือการสึกกร่อน ของกระดูกอ่อนผิวข้อที่ผ่านการใช้งานมาเป็นเวลานาน ซึ่งส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในผู้ที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป โดยเฉพาะเพศหญิง แต่ในปัจจุบันด้วยรูปแบบการใช้ชีวิต ที่หนักหน่วง เช่น การเล่นกีฬาผิดท่า การขึ้นลงบันได้บ่อยๆ หรือน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น ทำให้เกิดปัจจัย เสี่ยงเพิ่มขึ้น หากมีอาการ ปวดข้อเข่า ข้อเข่าขัด รู้สึกเมื่อยตึงที่น่อง มีเสียงลั่นที่ข้อเวลาเดินหรือเคลื่อนไหว เดินไม่สะดวก หากปล่อยไว้นานจนถึงระยะรุนแรง อาจถึงขั้นเดินไม่ได้

ด้วยพัฒนาการทางการแพทย์ และเทคโนโลยีแบบแผลเล็กเจ็บน้อย Minimally Invasive Surgery ช่วยให้การรักษาการผ่าตัดข้อเข่าเทียมง่ายยิ่งขึ้น ช่วยให้เสียเลือดน้อย ฟื้นตัวเร็ว ความเสียหายต่อเนื้อเยื้อภายในน้อยลง อาการปวดหลังผ่าตัดน้อยกว่า ช่วยให้ผู้ป่วยใช้ชีวิตได้ปกติเร็วขึ้น พร้อมด้วยมาตรฐานการรักษาโรคเฉพาะทางระดับสากล โรคข้อเข่าเสื่อม แห่งแรกในประเทศไทย ด้วยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ และสหสาขาวิชา ที่ได้รับการรับรองจาก JCI สถาบันรับรองคุณภาพระดับสากลแห่งสหรัฐอเมริกา

Minimally Invasive Surgery
คือพัฒนาการทางการแพทย์ และเทคโนโลยีแบบแผลเล็กเจ็บน้อย ที่ช่วย ให้การรักษาการผ่าตัดข้อเข่าเทียมง่ายยิ่งขึ้น เสียเลือดน้อย ฟื้นตัวเร็ว อาการปวดหลังผ่าตัดน้อยกว่า ช่วยให้ผู้ป่วยใช้ชีวิตได้ปกติเร็วขึ้น พร้อมด้วย มาตรฐาน การรักษาโรคเฉพาะทางระดับสากล โรคข้อเข่าเสื่อมแห่งแรกในประเทศไทย ด้วยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ และสหสาขาวิชา ที่ได้รับการรับรองจาก JCI สถาบันรับรองคุณภาพระดับสากลแห่งสหรัฐอเมริกา

คุณเสี่ยงต่อการเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมหรือไม่ ใช่ ไม่ใช่
1. เพศชาย หญิง อายุ 40 ปีขึ้นไป
2. มีน้ำหนักตัวมาก (ค่าดัชนีมวลกายมากกว่า 25)
3. มีกิจวัตรการทำงาน ที่ต้องเดินอยู่ตลอดเวลา
4. มีอาการเข่ายืด ฝืด หรืองอ ลำบาก
5. มีเสียงดังก๊อบ แกร๊บ ที่เข่าขณะเคลื่อนไหว
6. มีอาการปวดที่ข้อเข่า หรือขาเวลาเดิน หรือลงบันได
7. มีอาการปวด เจ็บแปล๊บ ที่ข้อเข่าเวลาเดิน
8. มีอาการปวดข้อเข่าเวลานอน
9. มีปัญหาปวดข้อเข่าเวลาใส่ถุงเท้า รองเท้า หรือขณะลุกนั่ง
10. มีอาการปวดปวมอักเสบที่ข้อเข่า
11. ไม่สามารถเดินได้ปกติ ต้องเดินโยกตัว
12. ขาโก่งงอผิดรูป

สัญญาณเตือนภัย!
หากคุณมีอาการเหล่านนี้มากกว่า 3 ข้อขึ้นไป คุณอาจมีความเสี่ยงต่อโรคข้อเข่าเสื่อม หากปล่อยไว้นานจนถึงระยะรุนแรง อาจเป็นหนักขั้นเดินไม่ได้ เพื่อชะลอความเสื่อมให้ช้าลง และได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกวิธี ให้สามารถดำเนินคุณภาพชีวิตได้ตามปกติ ควรรีบปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

ครั้งแรกในประเทศไทย
มาตรฐานการรักษาระดับสากล การดูแลรักษาโรคเฉพาะทางสำหรับผู้ป่วย โรคข้อเข่าเสื่อม (Disease or Condition Specific Care Certification Osteoarthritis of the Knee) ได้รับการรับรองจาก JCI สถาบันรับรองคุณภาพระดับสากลแห่งสหรัฐอเมริกา

นพ.บัญญัติ เกตุมาลาศิริ
ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

วันอังคารที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2554

วิธีการเผ้าระวังอาการโรคข้อเข่าเสื่อม


ข้อเข่าเสื่อม อาการเสื่อมตามสภาพ หรือการสึกกร่อน ของกระดูกอ่อนผิวข้อที่ผ่านการใช้งานมาเป็นเวลานาน ซึ่งส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในผู้ที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป โดยเฉพาะเพศหญิง แต่ในปัจจุบันด้วยรูปแบบการใช้ชีวิต ที่หนักหน่วง เช่น การเล่นกีฬาผิดท่า การขึ้นลงบันได้บ่อยๆ หรือน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น ทำให้เกิดปัจจัย เสี่ยงเพิ่มขึ้น หากมีอาการ ปวดข้อเข่า ข้อเข่าขัด รู้สึกเมื่อยตึงที่น่อง มีเสียงลั่นที่ข้อเวลาเดินหรือเคลื่อนไหว เดินไม่สะดวก หากปล่อยไว้นานจนถึงระยะรุนแรง อาจถึงขั้นเดินไม่ได้

ด้วยพัฒนาการทางการแพทย์ และเทคโนโลยีแบบแผลเล็กเจ็บน้อย Minimally Invasive Surgery ช่วยให้การรักษาการผ่าตัดข้อเข่าเทียมง่ายยิ่งขึ้น ช่วยให้เสียเลือดน้อย ฟื้นตัวเร็ว ความเสียหายต่อเนื้อเยื้อภายในน้อยลง อาการปวดหลังผ่าตัดน้อยกว่า ช่วยให้ผู้ป่วยใช้ชีวิตได้ปกติเร็วขึ้น พร้อมด้วยมาตรฐานการรักษาโรคเฉพาะทางระดับสากล โรคข้อเข่าเสื่อม แห่งแรกในประเทศไทย ด้วยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ และสหสาขาวิชา ที่ได้รับการรับรองจาก JCI สถาบันรับรองคุณภาพระดับสากลแห่งสหรัฐอเมริกา

Minimally Invasive Surgery
คือพัฒนาการทางการแพทย์ และเทคโนโลยีแบบแผลเล็กเจ็บน้อย ที่ช่วย ให้การรักษาการผ่าตัดข้อเข่าเทียมง่ายยิ่งขึ้น เสียเลือดน้อย ฟื้นตัวเร็ว อาการปวดหลังผ่าตัดน้อยกว่า ช่วยให้ผู้ป่วยใช้ชีวิตได้ปกติเร็วขึ้น พร้อมด้วย มาตรฐาน การรักษาโรคเฉพาะทางระดับสากล โรคข้อเข่าเสื่อมแห่งแรกในประเทศไทย ด้วยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ และสหสาขาวิชา ที่ได้รับการรับรองจาก JCI สถาบันรับรองคุณภาพระดับสากลแห่งสหรัฐอเมริกา

คุณเสี่ยงต่อการเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมหรือไม่ ใช่ ไม่ใช่
1. เพศชาย หญิง อายุ 40 ปีขึ้นไป
2. มีน้ำหนักตัวมาก (ค่าดัชนีมวลกายมากกว่า 25)
3. มีกิจวัตรการทำงาน ที่ต้องเดินอยู่ตลอดเวลา
4. มีอาการเข่ายืด ฝืด หรืองอ ลำบาก
5. มีเสียงดังก๊อบ แกร๊บ ที่เข่าขณะเคลื่อนไหว
6. มีอาการปวดที่ข้อเข่า หรือขาเวลาเดิน หรือลงบันได
7. มีอาการปวด เจ็บแปล๊บ ที่ข้อเข่าเวลาเดิน
8. มีอาการปวดข้อเข่าเวลานอน
9. มีปัญหาปวดข้อเข่าเวลาใส่ถุงเท้า รองเท้า หรือขณะลุกนั่ง
10. มีอาการปวดปวมอักเสบที่ข้อเข่า
11. ไม่สามารถเดินได้ปกติ ต้องเดินโยกตัว
12. ขาโก่งงอผิดรูป

สัญญาณเตือนภัย!
หากคุณมีอาการเหล่านนี้มากกว่า 3 ข้อขึ้นไป คุณอาจมีความเสี่ยงต่อโรคข้อเข่าเสื่อม หากปล่อยไว้นานจนถึงระยะรุนแรง อาจเป็นหนักขั้นเดินไม่ได้ เพื่อชะลอความเสื่อมให้ช้าลง และได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกวิธี ให้สามารถดำเนินคุณภาพชีวิตได้ตามปกติ ควรรีบปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

ครั้งแรกในประเทศไทย
มาตรฐานการรักษาระดับสากล การดูแลรักษาโรคเฉพาะทางสำหรับผู้ป่วย โรคข้อเข่าเสื่อม (Disease or Condition Specific Care Certification Osteoarthritis of the Knee) ได้รับการรับรองจาก JCI สถาบันรับรองคุณภาพระดับสากลแห่งสหรัฐอเมริกา

นพ.บัญญัติ เกตุมาลาศิริ
ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น